Category: Visual Art Review & Article

วิเคราะห์สถานการณ์ศิลปะร่วมสมัยในสังคมไทย

“ศิลปะก็คืออาหารของจิตใจและพุทธิปัญญาของมนุษย์เรา ไม่ว่าวรรณกรรม ดนตรี จิตรกรรม ประติมากรรม และมัณฑนศิลป เราได้ประสบความเพลิดเพลินเจริญใจ ความสงบเยือกเย็น และบ่อเกิดของความหวังอันสูงส่ง ศิลปะทำให้เราเป็นคนดี รักใคร่กันและกัน ทำให้เรามีภาวะเป็นมนุษย์ที่แท้จริง ฉะนั้นศิลปะจึงเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับชีวิตที่มีวัฒนธรรมของชาติ…”

กำเนิดการสร้างภาพยนตร์ในสยาม

การถ่ายทำภาพยนตร์ในสยามเริ่มขึ้นโดย พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองแถมถวลยวงศ์ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ พระเจ้าน้องยาเธอในรัชกาบที่ ๕  ซึ่งทรงสั่งซื้อกล้องถ่ายภาพยนตร์และอุปกรณ์เข้ามาสยาม เมื่อครั้งที่พระองค์ทรงตามเสด็จฯ พระพุทธเจ้าหลวง ประพาสยุโรปครั้งแรกเมื่อปี ๒๔๔๐

การลงทุนในงานศิลปะ

การลงทุนในศิลปะเป็นการลงทุนทางเลือก (Alternative Investment) ประเภทหนึ่ง ซึ่งเป็นที่นิยมของผู้มีความมั่งคั่งสูง การลงทุนในศิลปะแตกต่างจากการลงทุนในหลักทรัพย์และสินทรัพย์อื่น เพราะเป็นการลงทุนที่ใช้ “ศิลป์” มากกว่า “ศาสตร์” เนื่องจากมีอารมณ์เข้ามาเกี่ยวข้อง จึงมีประเด็นและแง่มุมที่ต้องพิจารณาแตกต่างไปจากการลงทุนอื่นๆ

แนวทางการวิเคราะห์ภาพยนตร์ แนวคิดคู่ตรงข้ามกับความเข้าใจภาพยนตร์

แนวทางการวิเคราะห์ภาพยนตร์ แนวคิดคู่ตรงข้ามกับความเข้าใจภาพยนตร์

บทความชิ้นนี้แปลมาจากหนังสือเรื่อง Media and Society ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2 เขียนโดย Michael O’ Shaughessy และ Jane Stadler สำนักพิมพ์ Oxford University Press ปีที่พิมพ์ 2002 (ในส่วนของ Part 3, Chapter 10 เรื่อง Narrative Structure and Binary Oppositions หน้า 149-156)

มิเชล ฟูโก ผู้กบฎต่อความจริง

มิเชล ฟูโก ผู้กบฎต่อความจริง

มองปราดแรก ดูเหมือนมันจะขัดแย้งอย่างไรชอบกล ที่จะรวมเอา Michel Foucault มาไว้ในหนังสือรวมเล่ม ที่อุทิศให้กับเรื่อง The Return of Grand Theory (การหวนกลับไปสู่ทฤษฎีที่ยิ่งใหญ่)

อนุรักษ์มรดกไทย เทิดพระเกียรติฯ พระผู้เป็นดวงประทีปแห่งศิลปวัฒนธรรมของชาติ

อนุรักษ์มรดกไทย เทิดพระเกียรติฯ พระผู้เป็นดวงประทีปแห่งศิลปวัฒนธรรมของชาติ

เมื่อถึงวันที่ 2 เมษายน ของทุกปี ประชาชนชาวไทยทั่วผืนแผ่นดินนี้ล้วนปลื้มปิติ ด้วยทราบว่า เป็นวันครบรอบหรือวันพระราชสมภพของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระผู้มีพระราชจริยาวัตรที่งดงาม ทรงเจริญรอยตามเบื้องพระยุคคลบาทของพระราชบิดา พระผู้เป็นพลังของแผ่นดิน พระผู้ทรงเป็นที่รักและเทิดทูนยิ่งของปวงพสกนิกรชาวไทย

สถาปัตยกรรมปกติ และ ที่ว่างที่ผิดปกติ

สถาปัตยกรรมปกติ และ ที่ว่างที่ผิดปกติ

ผมอยากจะขอเริ่มบทความนี้ จากข้อสงสัยของตัวผมเองเมื่อหลายปีก่อน ตอนสมัยเรียนคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัยศิลปากรชั้นปีที่ 3 “ทำอย่างไรที่จะทำให้งานออกแบบของผม มีความแตกต่างจากคนอื่นๆ” นั้นคือคำถามเริ่มแรกที่นำไปสู่ประเด็น ที่ผมทำการศึกษาค้นคว้า หาคำตอบต่อมาจนกระทั่งวันนี้ จากคำถามที่ว่า “ทำอย่างไร” ให้แตกต่าง มาสู่คำถามที่ว่า “ทำไม” ต้องแตกต่าง เป็นการย้อนถามตัวเองว่า ถ้าเกิดความแตกต่างแล้วจะเกิดอะไรขึ้น ทำไมความแตกต่างจึงเป็นจุดเริ่มต้นของปัญหา เป็นสิ่งที่คนหลายคนไข่วคว้า

วัฒนธรรมทางสายตาในชีวิตประจำวัน

วัฒนธรรมทางสายตาในชีวิตประจำวัน

วัฒนธรรมภาพ – สิ่งที่เราพบเห็นอยู่ทุกเมื่อเชื่อวัน มักมีเรื่องราวอยู่เบื้องหลังเสมอ ทั้งความเหลื่อมล้ำทางด้านเชื้อชาติ สีผิว และเพศสภาพ วัฒนธรรมทางสายตาในชีวิตประจำวัน สมเกียรติ ตั้งนโม : แปลและเรียบเรียง คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ศิลปะ สถาปัตยกรรม และความงาม ในมุมมองของปัญญาชนสยาม ส.ศิวรักษ์ประจักษ์งาม

ศิลปะ สถาปัตยกรรม และความงาม ในมุมมองของปัญญาชนสยาม ส.ศิวรักษ์ประจักษ์งาม

ศิลปะ สถาปัตยกรรม และความงาม ในมุมมองของปัญญาชนสยาม เรียบเรียงจาก “ส.ศิวรักษ์ประจักษ์งาม” ปาฐกถาของ สุลักษณ์ ศิวรักษ์ แสดง ณ สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วันศุกร์ที่ ๑๔ มกราคม ๒๕๔๓

ความเป็นเพศ วารุณี ภูริสนสิทธิ์

ความเป็นเพศ วารุณี ภูริสนสิทธิ์

ความแตกต่างระหว่างเพศหญิงและเพศชายทางสรีระได้นำไปสู่ความเชื่อที่ว่าผู้หญิงและผู้ชายมีความแตกต่างกันในทางอื่นๆด้วย ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องสติปัญญา ความสามารถ ความถนัด จิตใจ และอารมณ์ ความเชื่อเช่นว่านี้ได้มีมาเป็นเวลานานนับพันปี

โครงการแห่งความเจ็บปวด

โครงการแห่งความเจ็บปวด

โดย : โกสุม โอมพรนุวัฒน์   อาทิตย์แรก ตั้งเป้าหมายว่าจะกินข้าวกล้องให้มากที่สุด และเลี่ยงการกินแป้งขัดขาว อาทิตย์ที่สอง ตั้งเป้าหมายว่าจะกินผักให้มากขึ้น ในขณะที่ยังไม่ทิ้งเป้าหมายแรก อาทิตย์ที่สาม ตั้งเป้าตัดอาหารแปลงรูป (processed food) และระวังเรื่องการกินอาหารที่ สารปนเปื้อน (นอกเหนือจากยังคงกินข้าวกล้องและกินผักต่อไป)

ตำนานหนังใหญ่

ตำนานหนังใหญ่

หนังใหญ่ ถือเป็นมหรสพการแสดงที่มโหฬารและมีขนาดใหญ่กว่าหนังตะลุง ซึ่งเหมือนกับการฉายภาพยนตร์ในปัจจุบัน โดยเริ่มมีการเล่นมาตั้งแต่ พ.ศ. 2001 ซึ่งค้นพบได้จากหลักฐานที่กล่าวไว้ในกฎมณเฑียรบาลตั้งแต่สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ หลังจากนั้นหนังใหญ่ก็มีการละเล่นเรื่อยมาจนถึงสมัยอยุธยา แล้วได้เลือนหายไป ต่อมาในสมัยกรุงธนบุรี การเล่นหนังใหญ่ก็ได้มีการรื้อฟื้นขึ้นมาอีกครั้งจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์

โครงการวิจัยเรื่อง กรณีศึกษาภูมิปัญญาและวิถีชีวิตแห่งชุมชนบ้านแม่หมีใน จังหวัดลำปาง

โครงการวิจัยเรื่อง กรณีศึกษาภูมิปัญญาและวิถีชีวิตแห่งชุมชนบ้านแม่หมีใน จังหวัดลำปาง

แนวทางการพัฒนาเมืองสวยด้วยการสร้างสรรค์งานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย “กรณีศึกษาภูมิปัญญาและวิถีชีวิตแห่งชุมชนบ้านแม่หมีใน จังหวัดลำปาง”โดย : สุภาวี ศิรินคราภรณ์ (Supavee Sirin-k-raporn )

สอนคนให้เป็นคน ก่อนที่จะสอนคนให้เป็นศิลปินหรือจิตรกร

สอนคนให้เป็นคน ก่อนที่จะสอนคนให้เป็นศิลปินหรือจิตรกร

ศิลปะเด็กเป็นสื่อที่ดีในการพัฒนาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ของเด็ก ไม่ใช่การเตรียมคนให้เป็นศิลปินหรือจิตรกรในอนาคต… ศิลปะในโลกของเด็กๆ นั้นคือ การแสดงออกอย่างอิสระเสรี (Free Expression) อันเต็มไปด้วยความซื่อบริสุทธิ์จริงใจ เปิดเผยและเป็นไปอย่างตรงไปตรงมาประสาของเด็ก โดยปราศจากการเสแสร้ง ดัดจริตและไร้มารยาสาไถย

รางวัลยูเนสโก เกียรติยศสำหรับหัตถศิลป์ไทย

รางวัลยูเนสโก เกียรติยศสำหรับหัตถศิลป์ไทย

รางวัลยูเนสโก : เกียรติยศสำหรับหัตถศิลป์ไทย งานศิลปหัตถกรรมมีความหมายสำคัญ เกี่ยวข้องกับการดำรงชีวิตของมนุษย์ ตั้งแต่ลมหายใจแรกจนกระทั่งสุดท้าย ทุกชีวิตของมนุษย์ต้องสัมพันธ์กับสิ่งของและเครื่องใช้ ซึ่งเป็นประดิษฐกรรมที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อความสะดวกสบาย และสุนทรียะของการดำรงชีวิตในสภาพแวดล้อมต่างๆ

ผลงานจิตรกรรมของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

ผลงานจิตรกรรมของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

หลายปีมาแล้ว เมื่อผู้เขียนยังศึกษาอยู่ในสหรัฐอเมริกา วันหนึ่งผู้เขียนได้หยิบหนังสือที่มีภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงถ่ายภาพเครื่องบินรบของกองทัพอากาศมาให้เพื่อชาวต่างประเทศดู เครื่องบินลำนั้นมีความเร็จเหนือเสียง เครื่องยังอยู่ในอากาศ แต่รายละเอียดต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเครื่องหมาย หมายเลขเครื่อง รายละเอียดทุกส่วนชัดเจน ราวกับเป็นภาพถ่ายของเครื่องบินที่จอดอยู่

โครงการวิจัยเรื่อง หีบห่อจากวัสดุธรรมชาติ

โครงการวิจัยเรื่อง หีบห่อจากวัสดุธรรมชาติ

  การศึกษางานออกแบบเพื่อการอนุรักษ์โดย : อภิสิทธิ์ ไล่ศัตรูไกล,พยูร โมสิกรัตน์ และ มาลินี วิกรานต์ ระยะเวลาในการวิจัย  :  พ.ศ.2543-2547

ตัวอย่างการบูรณาการศาสตร์ทางสถาปัตยกรรมประยุกต์สู่ประเด็นในการออกแบบภายใน

ปัจจุบันนี้องค์ความรู้ในศาสตร์สาขาวิชาการต่างๆ ที่ดูเหมือนจะเคยแยกกันอยู่ในอดีต กำลังจะกลับฟื้นคืนด้วยการนำมาให้คุณค่าและความสำคัญใหม่ในแนวทางที่เรียกว่าบูรณาการข้ามศาสตร์ (Transdisiplinary) ซึ่งการบูรณาการ หรือ integration ความหมายคือการทำให้สมบูรณ์ การทำให้หน่วยย่อยๆ ทั้งหลาย ที่สัมพันธ์อิงอาศัยซึ่งกันและกัน เข้ามาร่วมทำหน้าที่ประสานกลมกลืนเป็นองค์รวมหนึ่งเดียว

ทองสุโขทัย

เครื่องประดับทองคำสุโขทัยนับได้ว่าเป็นมรดกทางวัฒนธรรมไทย (Thai Cultural Heritage) ที่น่าภูมิใจในสมัยรัตนโกสินทร์อย่างแท้จริง ลักษณะรูปแบบของเครื่องทองสุโขทัยด้วยความสามารถของชาวสุโขทัยที่นำแนวคิด และแรงบันดาลใจจากลวดลายโบราณสถานโบราณวัตถุ ในสมัยสุโขทัยมาประยุกต์กับเทคนิค กรรมวิธีการทำทองโบราณ สร้างลักษณะพิเศษที่เห็นชัดเจน

สื่อแฝงในบรรยากาศ

“เราไม่มีทางหนีโฆษณาพ้น” คำกล่าวนี้อาจเป็นจริงสำหรับชีวิตคนไทยและคนทั่วโลกในปัจจุบัน ในยุคของการทำการตลาดแบบผสมผสาน หรือ IMC : Integrated Marketing Communication ทำให้สื่อโฆษณาอยู่กับเราอย่างใกล้ชิดไปทุกที่ ดังจะเห็นได้จาก สื่อโทรทัศน์ สื่อสิ่งพิมพ์ และสื่อออนไลน์ที่เข้าถึงบ้านเรือน

เซลาดอน (Celadon)

เซลาดอน (Celadon)

เซลาดอน หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่เผาอุณหภูมิสูงประมาณ 1,250 องศาเซลเซียสขึ้นไป ผลิต ภัณฑ์มีเนื้อแกร่ง เช่น สโตนแวร์ (Stoneware) และ พอร์สเลน (Porcelains) ที่เคลือบด้วยน้ำเคลือบสีเขียวอ่อน สีเขียวอมฟ้า สีเขียวอมเทา สีเขียวอมน้ำตาล สีเขียวเข้ม และมักมีรอยรานปรากฏอยู่ในผิวเคลือบเสมอ

ศิลปะเชิงสังวาส ในงานจิตรกรรมไทย

ศิลปะเชิงสังวาส ที่ปรากฏในศิลปะแบบแผนประเพณีไทยนั้น มักพบในจิตรกรรมฝาผนังเป็นจำนวนมากในช่วง รัชกาลที่ ๑ ถึง รัชกาลที่ ๓ และสำหรับจิตรกรรมฝาผนังบางแห่งอาจล่วงเลยมาได้จนถึงช่วงรัชกาลที่ ๕  การศึกษาศิลปะเชิงสังวาสนั้น มีการศึกษาไว้หลายแห่ง ยกตัวอย่าง จิตรกรรมฝาผนังวัดคงคาราม จ.ราชบุรี  จิตรกรรมฝาผนังวัดภูมินทร์ จ. น่าน จิตรกรรมฝาผนังวัดหน้าพระธาตุ จ.นครราชสีมาฯลฯ

llustration

การที่ใครสักคนจะตัดสินใจหยิบหนังสือหรือนิตยสารขึ้นมาพินิจสักเล่มหนึ่ง นอกจากเนื้อหาสาระที่ดึงดูดใจแล้ว ต้องยอมรับว่าภาพประกอบก็มีส่วนสำคัญที่เย้ายวนให้รู้สึกสนใจงานเขียนเหล่านั้นได้เช่นกัน

15 กันยายน วันศิลป์ พีระศรี บิดาแห่งศิลปะร่วมสมัยของไทยและปราชญ์ผู้ยิ่งใหญ่แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

“นาย…ถ้าฉันตาย…นายนึกถึงฉัน นายรักฉัน…นายไม่ต้องไปทำอะไร…นายทำงาน วันที่ 15 กันยายน วันศิลป์ พีระศรี ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี (Silpa Bhirasri) บุรุษผู้ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งศิลปะร่วมสมัยของไทย เป็นบิดาแห่งมหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นทั้งศิลปินและปราชญ์ผู้ยิ่งใหญ่แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ผู้สร้างความเป็นปึกแผ่นแก่วงการศิลปะไทย ให้เจริญรุ่งเรืองก้าวหน้าตลอดมาจนถึงปัจจุบัน

โขนฉาก

โขนฉาก

การแสดงโขนโรงใน ที่มีโรงสำหรับการแสดง และมีม่านกั้น ทางด้านหลัง อย่างละครใน เป็นโขนที่ได้รับความนิยมจากผู้ชมมาก เพราะได้ชมทั้งศิลปะการเต้นอย่างโขน และชมกระบวนการรำฟังเพลง ร้องอย่างละครใน ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ ๕ โขนโรงใน จึงวิวัฒนาการมาเป็นโขนฉาก

ละครหุ่น Bunraku ละครหุ่นเก่าแก่กว่า 300 ปีของญี่ปุ่น

Bunraku เป็นละครหุ่นที่ถือกำเนิดขึ้นในโอซาก้า และได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกในค.ศ.2003 ความโดดเด่นของละครหุ่นดังกล่าวอยู่ที่ขนาดของหุ่นที่ใหญ่โต และการบังคับด้วยคน 3 คนพร้อมๆกัน โดยแต่ละคนจะทำหน้าที่บังคับส่วนที่ต่างกันของหุ่น ทำให้ท่าทีในการแสดง และใบหน้าของหุ่นสามารถขยับได้เหมือนคนจริงมาก

วิสัยทัศน์วัฒนธรรม

“ดิฉันเชื่อว่า…ทุกปัญหาในประเทศนี้จะแก้ไขได้ด้วย ‘กลไกทางวัฒนธรรม’ เท่านั้น” บทสัมภาษณ์แนวคิดของ อ. วรรณศิริ ศรีวราธนบูลย์ สถาปนิก/ นักเขียน และอาจารย์สถาปัตย์ บรรณาธิการบริหารสื่อศิลปวัฒนธรรมเพื่อสังคม…ผู้ก่อตั้ง เว็บไซต์ ARTBANGKOK.COM เรียบเรียงโดย : เบญจมาส วิชาสอน

ดิน น้ำ ลม ไฟ มหันตภัยทางธรรมชาติ และภัยพิบัติของของมนุษย์

นอกเหนือไปจากภัยธรรมชาติที่ได้คร่าชีวิตมนุษย์ไปเป็นจำนวนมากตามที่เป็นข่าวอยู่ในปัจจุบันแล้ว โรคภัยไข้เจ็บก็เป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้คนที่เราต้องล้มหายตายจากไปปีละไม่น้อย ซึ่งก็เป็นเรื่องน่าแปลกที่ว่าภัยที่เกิดขึ้นไม่ว่ากับคนหรือโลกเรา ส่วนหนึ่งก็มีสาเหตุมาจาก ดิน น้ำ ลม และไฟ เป็นองค์ประกอบทั้งสิ้น พูดง่ายๆว่าโลกป่วยหรือคนป่วย ก็เป็นผลมาจากดิน น้ำ ลม ไฟนี่แหละ

จารึกวัดโพธิ์ ภูมิปัญญาไทยน่าทึ่ง มรดกความทรงจำแห่งโลก สิ่งใหม่ของไทย

“วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ราชวรมหาวิหาร” หรือ “วัดโพธิ์” เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร เดิมชื่อว่า “วัดโพธาราม” เป็นวัดโบราณเก่าแก่ที่ราษฎรสร้างขึ้นมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี แม้ไม่ปรากฏหลักฐานการสร้างที่แน่ชัด แต่สันนิษฐานว่าน่าจะสร้างขึ้นหลังจากปี พ.ศ.๒๒๓๑ ในรัชกาลสมเด็จพระเพทราชาต่อกับรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช แห่งกรุงศรีอยุธยา เป็นวัดราษฎร์ขนาดเล็กอยู่ในเขตตำบลบางกอก ปากน้ำเจ้าพระยา เมืองธนบุรี ชาวบ้านเรียกกันว่า “วัดโพธิ์” มาจนทุกวันนี้ มาในสมัยกรุงธนบุรี เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงสถาปนาเมืองธนบุรีเป็นนครหลวง ได้ทรงกำหนดเขตเมืองหลวงทั้งสองฝั่ง มีแม่น้ำเจ้าพระยาอยู่ในเขตกลางเมืองหลวง วัดโพธารามตั้งอยู่บนฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยาจึงอยู่ในเขตพระมหานคร และได้ยกขึ้นเป็นพระอารามหลวง มีพระราชาคณะปกครองตั้งแต่นั้นมา คณะปกครองตั้งแต่นั้นมา จนกระทั่งในสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ ๑ องค์ปฐมกษัตริย์แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์...

อาหารไทย เป็นอย่างไร

อาหารไทย เป็นอย่างไร

“ อาหาร ” เป็นปัจจัยแรก ในปัจจัยสี่ที่มีความสำคัญยิ่งต่อการดำรงชีวิตของคนเรา คงไม่มีใครปฏิเสธว่าไม่รู้จักอาหาร เพราะตั้งแต่เริ่มปฏิสนธิในครรภ์มารดา เราก็ได้รับสารอาหารจากแม่ จนถึงแม้วันสิ้นลม ก็ยังมีอาหารมาเกี่ยวข้องเป็นเครื่องเซ่นไหว้ คนทุกชาติทุกภาษาในโลกต่างก็มีอาหารประจำชาติของตัวเอง ประเทศไทยก็มี “ อาหารไทย ” ของเราเช่นกัน

ทำไมพระต้องถือตาลปัตร

เมื่อเราไปทำบุญที่วัดหรือนิมนต์พระสงฆ์มาทำพิธีกรรมต่างๆไม่ว่าที่บ้าน ที่ทำงานหรือที่ใด เรามักจะเห็น “ ตาลปัตร ” อยู่คู่กับการสวดของพระอยู่เสมอ ซึ่งส่วนใหญ่คงจะเคยชิน แต่คงมีคนจำนวนไม่น้อยที่ไม่ทราบว่า เหตุใดพระสงฆ์จึงต้องใช้ตาลปัตรปิดหน้าเวลาสวด ดังนั้น กลุ่มประชาสัมพันธ์ สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม จึงขอนำเรื่องของตาลปัตรมาเล่าสู่กันฟังเพื่อเป็นความรู้ ดังนี้

โขนสมัยกรุงรัตนโกสินทร์

โขนสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ โขนในสมัย กรุงรัตนโกสินทร์ แบ่งได้เป็น ๓ ยุค คือ ยุคที่ ๑ เป็นโขน ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ยุคที่ ๒ เป็นโขน ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ยุคที่ ๓ เป็นโขน ในสมัยเปลี่ยนแปลงการปกครอง

เปิดตำนานไม้ขีดไฟไทย

เปิดตำนานไม้ขีดไฟไทย

ไม้ขีดไฟถือกำเนิดขึ้นใน ค.ศ. 1827 โดยนักเคมีชาวอังกฤษชื่อ ‘จอห์น วอล์คเกอร์’ ไม้ขีดก้านแรกของโลกทำขึ้นจากเศษไม้จุ่มปลายด้วยส่วนผสมของ แอนติโมนีซัลไฟด์ โปตัสเซียมคลอเรต และกาวจากยางไม้ เมื่อเอาไม้ขีด ขีดกับอะไรก็ได้ ที่เนื้อหยาบๆ เช่น กระดาษทราย ก็จะเกิดประกายไฟ แต่ไม้ขีดชนิดนี้ยังมีปัญหาที่ ‘ขีดแล้วติดบ้างไม่ติดบ้าง’

วันอาสาฬหบูชาและวันเข้าพรรษา

พอเข้าสู่ช่วงปลายปีประมาณเดือนกรกฎาคมจะมีวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาที่สำคัญอยู่ 2 วันด้วยกัน คือ วันอาสาฬหบูชาและวันเข้าพรรษา ซึ่งหลายคนคงจะทราบกันดีว่าวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา 2 วันนี้จะเป็นการเริ่มต้นเข้าสู่เทศกาลเข้าพรรษาและยังเป็นวันที่พุทธศาสนิกชนทั้งหลายจะได้บำเพ็ญกุศล ร่วมกันทำบุญตักบาตรและเวียนเทียน

จากสมบูรณาญาสิทธิราชย์ สู่ระบอบประชาธิปไตย

จากสมบูรณาญาสิทธิราชย์ สู่ระบอบประชาธิปไตย

การเปลี่ยนแปลงการปกครอง หรือที่เรียกกันอีกอย่างหนึ่งว่า การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 คือ การปฏิวัติเพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองของประเทศไทยจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตย โดยคณะราษฎร เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475

แนะข้อคิด คำสอน จากบทกลอนสุนทรภู่ ปรับใช้กับชีวิตปัจจุบัน

แนะข้อคิด คำสอน จากบทกลอนสุนทรภู่ ปรับใช้กับชีวิตปัจจุบัน

  สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม ขอนำเสนอแนวคิดที่ปรากฏในกวีนิพนธ์ของท่านสุนทรภู ซึ่งมักจะสอดแทรกข้อคิด คำสอน คติพจน์ทั้งทางโลกและทางธรรม อันสะท้อนให้เราได้เห็นถึงสัจธรรมแห่งชีวิต  ซึ่งหลายๆเรื่องยังสามารถนำมาใช้เป็นแนวทางการดำเนินชีวิตในปัจจุบันได้ด้วย  อยู่ที่ว่าท่านจะประยุกต์ให้เข้ากับเรื่องใด  ดังต่อไปนี้

เคล็ดไม่ลับในการเขียนวรรณกรรมเยาวชน

เคล็ดไม่ลับในการเขียนวรรณกรรมเยาวชน

หากขณะนี้ คุณคิดที่จะเขียนหนังสือสักเล่ม โดยวางแนวคิดไว้คร่าว ๆ ว่าจะเป็นวรรณกรรมเยาวชน ยังคงมีบางสิ่งที่คุณควรนำมาพิจารณาประกอบด้วย ได้แก่ อายุกลุ่มเป้าหมาย เพราะแม้กลุ่มผู้อ่านเด็กอายุ 8-12 ปี และกลุ่มผู้อ่านอายุ 14 -21 ปี ก็มีข้อแตกต่างกัน ซึ่งผู้เขียนต้องใคร่ครวญให้ดีก่อนจะลงมือเขียน

คณะหุ่นสายเสมา

คณะหุ่นสายเสมา คณะหุ่นสายของไทยซึ่งดำเนินการสร้างสรรค์และพัฒนาศิลปะการแสดงหุ่นสายไทย โดยนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ มาเป็นหลักยึดในการทำงานเป็นเวลากว่า 6 ปี จนได้รับการยอมรับในระดับสากลจากการเข้าร่วมเทศกาลหุ่นโลก

สล่าสร้างศิลป์ ถิ่นลำปาง

สำนักศิลปะและวัฒนธรรม จัดนิทรรศการ “สล่าสร้างศิลป์ ถิ่นลำปาง”ขึ้นเพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช และฉลองครบรอบ ๔๐ ปีมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง และเป็นการเชิดชูเกียรติคณาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางทั้งในอดีตและปัจจุบัน

MELANNงานศิลปวิศวกรรมทางเลือก

MELANN THE PRIDE OF LANNA เกียรติศักดิ์ล้านนา กำเนิดขึ้นของ MELANN เมื่อปี 2547  เป้าประสงค์หลักต้องการแสดงตัวให้สาธารณชนในวงการต่างๆ ให้ทุกท่านมีโอกาสได้พบและสัมผัสถึงสุนทรียศิลป์ที่ MELANN ได้สร้างขึ้นเพื่อมอบความสุขในด้านศิลปะอีกแขนงหนึ่ง