Category: Architecture & Interior Article

The top 2013 architecture trends

ในปี 2013 ที่ผ่านไปนั้น แนวโน้มด้านสถาปัตยกรรมสะท้อนให้เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงในด้านความคิดของสังคมสมัยใหม่ ที่นอกจากจะดูเรียบง่ายแล้ว ในการออกแบบยังต้องการที่จะดูแลรักษาธรรมชาติ และดูแลรักษาโลกใบนี้ด้วย

The Macy Miller Tiny House

ถูกออกแบบจากความฝันที่ต้องการมีบ้านขนาดเล็กแต่เต็มไปด้วยประสิทธิภาพ โดยสถาปนิกจาก Idaho-based ซึ่งเจ้าของบ้านต้องการประหยัดทั้งพื้นที่และค่าใช้จ่าย เป็นบ้านที่ถูกสร้างขึ้นด้วยการจำกัดงบประมาณ

BU Diamond

ชื่อโครงการ : อาคาร BU Diamond เจ้าของโครงการ : มหาวิทยาลัยกรุงเทพ สถานที่ก่อสร้าง : มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต

หอพระไตรปิฎก และ บันทึกของนายเฟื้อ

วัดระฆังโฆสิตาราม แต่เดิมเรียกว่า วัดบางหว้าใหญ่ เป็นวัดโบราณมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันตก เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดวรมหาวิหาร

อุทยานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระราชทานแนวพระราชดำริในการจัดการพื้นที่แห่งนี้แก่สถาปนิก สถาปนิกจึงได้จัดการออกแบบและปรับปรุงบนพื้นฐานของสิ่งที่มีอยู่ในพื้นที่เดิม

เรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ รัชกาลที่ ๙ พ.ศ. ๒๕๓๗

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับงานศิลปะและการออกแบบ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระมหากษัติรย์รัชกาลที่ ๙ แห่งราชวงจักรี ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงปกครองแผ่นดินยาวนานกว่า ๖o ปี อันเป็นระยะเวลาการครองราชย์ที่ยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์ชาติไทย

พระมหาธาตุเฉลิมราชศรัทธา

พระมหาธาตุเฉลิมราชศรัทธา วัดไทยกุสินาราเฉลิมราชย์ เมืองกุสินารา รัฐอุตตรประเทศ  สาธารณรัฐอินเดีย (พ.ศ. ๒๕๔๔–๒๕๔๗ ) พระมหาธาตุเฉลิมราชศรัทธา วัดไทยกุสินาราเฉลิมราชย์ ซึ่งตั้งอยู่ที่เมืองกุสินารา รัฐอุตตรประเทศสาธารณรัฐอินเดีย

การอนุรักษ์พระพุทธรัตนสถาน เขตพระราชฐานชั้นกลาง พระบรมหาราชวัง

การอนุรักษ์พระพุทธรัตนสถาน พระพุทธรัตนสถานมนทิราราม เขตพระราชฐานชั้นกลาง พระบรมหาราชวัง (พ.ศ. ๒๕๓๗-๒๕๔๗) พระพุทธรัตนสถาน หรือ พระพุทธรัตนสถานมนทิราราม คือพระอุโบสถพระพุทธนิเวศน์แห่งพระพุทธบุษยรัตนจักรพรรดิพิมลมณีมัย ซึ่งเรียกโดยย่อว่าพระพุทธบุษยรัตน์

ประเด็นสำคัญของเอกลักษณ์กับอัตลักษณ์ที่ส่งผลต่อสังคมวิชาชีพมัณฑนากรและสังคมสถาปัตยกรรมภายใน

อัตลักษณ์ (อ่านว่า อัด-ตะ-ลัก) ประกอบด้วยคำว่า อัตกับคำว่า ลักษณ์ อัต มาจากคำว่า อตฺต แปลว่า ตน ตัวเอง อัตลักษณ์ จึงแปลว่าลักษณะของตนเอง ลักษณะของตัวเองเป็นศัพท์ที่คณะกรรมการบัญญัติศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานได้บัญญัติให้ตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า character เป็นลักษณะเฉพาะของบุคคลซึ่งรวมสติปัญญา คุณธรรม จริยธรรมความประพฤติที่แสดงออกเป็นลักษณะนิสัยของบุคคล

Vivid Distinction

Vivid Distinction (วิวิธ ดิสทิงต์ชั่น) การตกแต่งในสไตล์ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว เป็นการผสมผสานเรื่องโทนสีและของตกแต่งจากหลากหลายสถานที่ทั่วทุกมุมโลกมาผสมผสานกันอย่างลงตัว

ตึกช้าง

ตึกช้าง

ด้วยรูปลักษณ์ของช้าง ซึ่งถือเป็นหนึ่งในสัญลักษณ์ของคนไทย และเป็นสัตว์ที่อยู่ในประวัติศาสตร์ไทยด้วย และความสูงโดดเด่นทำให้ตึกช้างกลายเป็นที่สะดุดตาแก่ผู้ที่ผ่านไปมา แม้ว่าตึกช้างจะไม่ได้มีความสวยงามดังเช่นตึกอื่นๆที่ติดอันดับ แต่คงไม่ปฏิเสธว่าคนจะเหลือบมองทุกครั้งที่ผ่านไปแถวตึกช้าง

ซุปเปอร์สกายวอล์คกับการทำลายเมืองกรุงเทพฯ

ซุปเปอร์สกายวอล์คกับการทำลายเมืองกรุงเทพฯ

ตั้งแต่ช่วงหลายปีที่ผ่านมาที่การเมืองของประเทศไทยมีความผันผวนอย่างหนัก แล้วเราได้คณะผู้บริหารประเทศและผู้บริหารกรุงเทพมหานครที่มาจากพรรคการเมืองเดียวกัน ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมารู้สึกว่าเราจะได้เห็นการนำเสนอโครงการต่าง ๆ มากมายมาอย่างต่อเนื่อง โครงการทั้งในระดับประเทศและในระดับเมืองที่พรั่งพรูออกมานั้น ส่วนใหญ่จะมีอยู่เพียง 2 ประเภทคือโครงการประชานิยมลด แลก แจก แถม กับโครงการสิ่งก่อสร้างรูปธรรมขนาดใหญ่

หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร

หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร

ออกแบบโดย : บริษัท โรเบิร์ต จี บุย แอนด์ แอสโซซิเอทส์ (ROBERT G : Boughey & Associates) เจ้าของโครงการ : กรุงเทพมหานคร ที่ตั้ง : สี่แยกปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ประเภทอาคาร : – ปีที่ก่อสร้าง : – ขนาดพื้นที่ :  –

ศาลฎีกา

ศาลฎีกา

ออกแบบโดย : พระสาโรชรัตนนิมมานก์(สาโรช สุขยางค์) สถาปนิกไทยแผนปัจจุบัน เจ้าของโครงการ : กระทรวงยุติธรรม ที่ตั้ง : เลขที่ 6 ถนนราชดำเนินใน แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทร 02-2221-3161-70 ประเภทอาคาร : สถานที่ราชการ ปีที่ก่อสร้าง : 2486 ขนาดพื้นที่ : –

สถานีดับเพลิงบางรัก จิตวิญญานที่ไม่เคยแก่ชรา

ออกแบบโดย :  Gioachion Grassi (โจอากิโน กรัซซี) เจ้าของโครงการ : ที่ตั้ง : บางรัก ประเภทอาคาร : อาคารที่ใช้เป็นสถานีดับเพลิง ปีที่ก่อสร้าง : 2433 ขนาดพื้นที่ : ประมาณ 5ไร่

ตึกหุ่นยนต์

ตึกหุ่นยนต์ BASIC INFORMATION ARCHITECT : ดร.สุเมธ ชุมสาย LOCATION : 191 ถนนสาธรใต้ จ.กรุงเทพ 10120 HEIGHT : 83 เมตร LEVEL : 20 ชั้น AREA : 23,506 ตารางเมตร

SIAM PARAGON

ออกแบบโดย :  ทีมงานบริษัท Wimberly Allison Tong & Goo,Inc (WATG) เจ้าของโครงการ : ที่ตั้ง : ย่านสยามสแควร์ ประเภทอาคาร : ห้างสรรพสินค้า ปีที่ก่อสร้าง : ขนาดพื้นที่ :  52 ไร่

MUSEUM SIAM

MUSEUM SIAM

ชื่อตึก : มิวเซียมสยาม (พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้) ที่ตั้ง : อยู่บริเวณท่าเตียน ถนนสนามไชย ติดกับโรงเรียนตั้งตรงจิตพาณิชยการและสถานีตำรวจพระราชวังห่างจากวัดโพธิ์ ประเภทอาคาร :อาคารคอนกรีต 3 ชั้น ใช้การก่อสร้างแบบเสาและคาน เป็นอาคารหลังเก่าของกระทรวงพาณิชย์เดิม ก่อตั้งเมื่อ : ตัวอาคารก่อสร้างในสมัยรัชกาลที่ 6 และเปิดเป็นพิพิธภัณฑ์เมื่อ 2 เมษายน พ.ศ. 2551 มิวเซียมสยามอยู่ในการดูแลของสถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ

พระอุโบสถวัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก

พระอุโบสถวัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก กรุงเทพมหานคร (พ.ศ. ๒๕๓๙ – ๒๕๔o) พระอุโบสถ วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก กรุงเทพมหานคร เป็นงานสถาปัตยกรรมไทยอีกหลังหนึ่งซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระบรมราชวินิจฉัยตั้งแต่ขั้นตอนการวางแนวความคิดในการออกแบบ มีสถาปนิกผู้ถวายงาน คือ นาวาอากาศเอก อาวุธ เงินชูกลิ่น

KHAJURAHO แผ่นดินแห่งกามสูตร นครซึ่งศรัทธาถูกห่อหุ้มไว้ด้วยกามารมณ์

หากเรื่องเพศจะเป็นเรื่องต้องห้ามของศาสนาหรือวัฒนธรรมทั้งหลายทั้งปวง แต่เราก็คงไม่สามารถจะหมายรวมถึง “อินเดีย” และ  “ศาสนาฮินดู” ด้วยเป็นแน่แท้ แนวคิดพื้นฐานของชาวฮินดูเน้นความสมดุลของหน้าที่ตามวัยวุฒิ คุณวุฒิ และระบบวรรณะ ทำให้ศาสนาที่เก่าแก่เป็นอันดับต้นๆของโลกศาสนานี้ ให้ความสำคัญกับเรื่อเพศพอๆกับกิจกรรมอื่นๆของชีวิต ด้วยตระหนักว่าหากเราไม่มีเรื่องเพศมาเกี่ยวข้อง ย่อมไม่อาจดำรงเผ่าพันธ์อยู่ได้ เมื่อไม่มีการสืบลูกหลาน

พระอุโบสถวัดโสธรวรารามวรวิหาร

พระอุโบสถวัดโสธรวรารามวรวิหาร จังหวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. ๒๕๓o –๒๕๔๙) เมื่อวันที่ ๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕o๙ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ  พระบรมราชินีนาถ  พร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ได้เสด็จพระราชดำเนินมายังวัดโสธรวรารามวรวิหาร เพื่อทรงประกอบพิธีทางศาสนาเนื่องในวันวิสาขบูชา

สถาปัตยกรรมสีเขียว กับ Burberry

สำนักงานใหญ่เบอร์เบอรี่ ที่ฮอร์สเฟอรี่เฮ้าส์ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ที่ปรับโฉมเป็นออฟฟิศสีเขียว ขึ้นชื่อว่าศิลปะ ย่อมไม่มีตรรกะใดๆมาชี้วัดความงาม ไม่มีพรหมแดน ไม่มีศาสนา มีแต่ช่วยจรรโลงจิตใจ ยกระดับจิตใจให้สูงขึ้น ศิลปะแทรกซึมอยู่ทุกที่ อยู่ในชีวิตประจำวันของเรา กิน เดิน นั่ง นอน เที่ยวเล่น อยู่อาศัย ปฎิเสธไม่ได้ว่าเราถูกศิลปะครอบงำทุกตารางนิ้ว ไม่เว้นแม้แต่บ้านเรา หรือสถานที่ๆให้มนุษย์เข้าไปใช้ประโยชน์ เข้าไปพักผ่อนหย่อนใจ

พระเมรุมาศสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี

พระเมรุมาศสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๒๗–๒๕๒๘) งานพระบรมศพสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณีพระบรมราชินีในรัชกาลที่ ๗ ในปี พ.ศ. ๒๕๒๘ เป็นงานพระราชพิธีใหญ่อีกงานหนึ่งที่แสดงให้เห็นถึงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงให้ความสำคัญในการรักษาและทำนุบำรุงศิลปสถาปัตยกรรมของชาติ  การนี้พระองค์ทรงเอาพระทัยใส่ต่อการดำเนินงานออกแบบพระเมรุมาศองค์นี้เป็นอย่างมาก

ศาลหลักเมือง

ศาลหลักเมือง  กรุงเทพมหานคร (พ.ศ. ๒๕๒๕ – ๒๕๒๙) ศาลหลักเมือง กรุงเทพมหานคร  เป็นอาคารอีกหลังหนึ่งที่ทรงมีพระบรมราชวินิจฉัยแก้ไขปรับปรุงรูปแบบในระหว่างการออกแบบ  อาคารหลังนี้สร้างขึ้นภายหลังจากการฉลองกรุงรัตนโกสินทร์ครบรอบ  ๒oo ปี ในปี พ.ศ. ๒๕๒๕ ซึ่งนาวาอากาศเอกอาวุธ  เงินชูกลิ่น  เป็นผู้ได้รับมอบหมายจากรองราชเลขาธิการในสมัยนั้น  ให้ออกแบบศาลหลักเมืองหลังใหม่แบบที่เห็นในปัจจุบันนี้ขึ้นตามแนวพระราชดำริ

อาคารประดิษฐานพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช

อาคารประดิษฐานพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช อาคารประดิษฐานพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช วัดไทยกุสินาราเฉลิมราชย์ เมืองกุสินารา รัฐอุตตรประเทศ  สาธารณรัฐอินเดีย (พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๕๔)

ศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

ศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช จังหวัดหนองบัวลำภู (พ.ศ. ๒๕๑๑ ) นอกเหนือจากาการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา ตลอดจนการทำนุบำรุงและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมของไทยโดยผ่านทางสถาปัตยกรรมไทยแล้ว พระราชภารกิจที่สำคัญในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอีกประการหนึ่งก็คือ  การที่ได้ทรงปกป้องประเทศชาติและประชาราษฎร์จากการคุกคามต่างๆ เช่น ภัยจากการก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ในระหว่างสงครามเย็น

พระอุโบสถวัดพุทธปทีป

วัดพุทธปทีป ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นวัดพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทแบบไทย  โดยรัฐบาลไทยร่วมมือกับประชาชนไทยได้ริเริ่มโครงการขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕o๗  ทั้งนี้เพื่อให้เป็นศูนย์กลางในการเผยแพร่พระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษและประเทศในภาคพื้นยุโรป

สถาปัตยกรรมไทย คุณค่าสู่สังคม

สถาปัตยกรรมไทย คือมรดกทางวัฒนธรรมอันสำคัญของชาติ เหตุเพราะสิ่งนี้เป็นผลงานรังสรรค์ที่เป็นภูมิปัญญาสั่งสมแห่งบรรพชนเรื่อยมานับแต่อดีตกาลนานมาแล้ว ทั้งเรือนไทย ตึกรามบ้านช่อง วัดวาอาราม ล้วนแล้วแต่สามารถเรียกได้ว่าเป็นสถาปัตยกรรมไทยได้ด้วยกันทั้งนั้น เพราะต่างก่อกำเนิดภายใต้สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรมไทย โดยเฉพาะงานที่มีมาจากรากทางวัฒนธรรมไทยอย่างเห็นได้ชัด

พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน

พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน เป็นพระราชวังสร้างในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญแห่งหนึ่งของจังหวัดเพชรบุรี ตั้งอยู่ที่ ต.ห้วยทรายเหนือ อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี โดยเป็นพระตำหนักประทับแรมของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพอพระราชหฤทัยที่สถานที่ที่ตำบลบางควาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สั่งให้กระทรวงมหาดไทยได้ดำเนินการก่อสร้างพระราชนิเวศน์ใหญ่ ใน พ.ศ. 2466

บ้านพระนนท์

  บ้านพระนนท์ กับเจ้าของรางวัลการปรับปรุงสถาปัตยกรรมยอดเยี่ยมจากการประกาศผลของ Thailand Boutique Awards 2010 ปัจจุบัน ไลฟ์สไตล์ของนักท่องเที่ยวยุคใหม่ได้เปลี่ยนแปลงไป ความคาดหวังจากการท่องเที่ยว ไม่ใช่แค่ความเพลิดเพลินในการไปเยี่ยมชมตามสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ ซื้อของ หรือรับประทานอาหารอร่อยๆ เท่านั้น แต่เป็น “ประสบการณ์” การเดินทางที่ แตกต่าง ดังนั้น ที่พักของนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้ (ที่มีจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ)